10 กันแดด ที่เคลมว่าเหมาะกับ สิว และ แพ้ง่าย
niyahckulp 51 24
การทา "กันแดด" ถือเป็นขั้นตอนนึงที่ "สำคัญมาก" แต่มัก "ถูกมองข้าม" เสมอ กูรูด้านสกินแคร์หลายๆท่านย้ำเสมอว่า ถึงเราจะบำรุงผิวมากมายขนาดไหน ถ้าไม่ทากันแดดคือ เหมือนที่บำรุงไป เปล่าประโยชน์กันเลย
อาจมีหลายเหตุผล ที่ทำให้หลายคนไม่อยากทากันแดด และหนึ่งในเหตุผลที่สำคัญ เพราะตัวเองก็เป็นคือ "ผิวแพ้ง่ายมาก อุดตันง่ายมาก สิวขึ้นง่ายมาก" เลยไม่อยากทากันแดด เพราะกันแดดมักจะชอบอุดตัน ทาแล้วสิวขึ้น หรือพวกที่เคลมว่าอ่อนโยนก็มักจะทาแล้วหน้าเทา
วันนี้เลยอยากมาแชร์ "หลักการส่วนตัว" ที่มักจะดูก่อนเสมอเมื่อจะใช้สกินแคร์ตัวใหม่ และนำมาใช้กับกันแดดด้วย
Note หลักเบื้องต้นเท่านั้นสำหรับผิวแพ้ง่าย เป็นสิวง่าย ไม่ได้จำเพาะว่าแพ้อะไรนะครับ เพราะคนแพ้ง่าย ก็อาจจะไม่ได้แพ้สารจำพวกนี้ก็ได้
กลุ่มสารที่ผิวแพ้ง่าย เป็นสิวง่าย ควรหลีกเลี่ยง
1. น้ำหอม
เพราะ หลักการให้เราได้กลิ่นคือการระเหย และการระเหยนี้จะเป็นการดึงความชุ่มชื้นออกจากผิวไปพร้อมกันด้วย เมื่อผิวขาดความชุ่มชื้น ก็จะทำให้ผิวเกิดการระคายเคืองได้ง่ายขึ้น
2. แอกอฮอล์
แอลกอฮอล์ทำหน้าที่ส่งสารบำรุงเข้าสู่ผิวชั้นหนังแท้ส่วนบนได้ก็จริง แต่มักทำให้ผิวระคายเคือง และแห้งลงด้วยถ้ามาในลำดับต้นๆของ Ingredient เพราะขณะที่แอลกอฮล์ระเหย จะดึงน้ำออกจากผิวด้วย
3. พาราเบน
เป็นกลุ่มสารกันเสียที่ใช้มานานและค่อนข้างปลอดภัยระดับนึง แต่ก็ยังมีรายงานผลการศึกษาสารในเครื่องสำอางที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ว่า สารกันเสียเป็นสารที่ทำให้ผู้ใช้เกิดการแพ้ ผื่นแพ้และระคายเคือง (Allergy Irritation) เป็นอันดับที่สองรองจากน้ำหอม
4. ซิลิโคน
ซิลิโคน ไม่ได้อันตรายเสมอไป แต่สำหรับผิวมัน เป็นสิวง่ายแล้ว น้ำมันที่ผิวผลิตขึ้นมีโอกาสไปจับตัวกับซิลิโคนแล้วก่อให้เกิดการอุดตันรูขุมขนได้ง่าย กว่าผิวประเภทอื่น
5. ซัลเฟต
สารกลุ่มนี้แถมละกัน เพราะส่วนใหญ่มักอยู่ในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด แต่ด้วยที่ตัวมันเองสามารถทำหน้าที่เป็น Emulsifier บางครั้งอาจมีหลงมาในผลิตภัณฑ์ทาผิวด้วย ก็น่าจะรู้กันอยู่ไม่มากก็น้อยแล้วว่าสารชำระล้างกลุ่มเซลเฟตค่อนข้างรุนแรง โดยเฉพาะ SLS และ SLES
6. EU Allergens List
เป็นกลุ่มสาร 26 สารที่ EU's Scientific Committee on Consumer Safety (SCCS) รายงานว่าเป็นสารก่ออาการระคายเคือง มีดังนี้ Alpha isomethylionone, Amyl cinnamal, Amylcinnamyl alcohol, Anisyl alcohol, Benzyl alcohol, Benzyl benzoate, Benzyl cinnamate, Benzyl salicylate, Butylphenyl methylpropional (Lilial), Cinnamal, Cinnamyl alcohol, Citral, Citronellol, Coumarin, Eugenol, Farnesol, Geraniol, Hexyl cinnamal, Hydroxycitronellal, Hydroxyisohexyl 3-cyclohexene carboxaldehyde (Lyral), Isoeugenol, Limonene, Linalool, Methyl 2-octynoate, Evernia furfuracea (Treemoss) extract, Evernia prunastri (Oakmoss) extract
ทั้งหมด 6 กลุ่มสารดังกล่าว เป็นเพียงแค่การระวังเบื้องต้นเท่านั้น เพราะจำไว้ว่า ประชากรบนโลกมี หลายพันล้านคน และการศึกษาวิจัยทำเพียงกับกลุ่มทดลองเพียงไม่กี่คน และ ความรู้ทางทฤษฏี และการใช้จริง ทาจริง ก็อาจไม่ส่งผลเหมือนกัน 100%
ดังนั้นทั้งหมดที่เล่ามาเป็นแค่ไกด์ไลน์เท่านั้น ไม่ได้ตัดสินว่าตัวไหนดีหรือไม่ดี เพื่อนๆสามารถลองนำไปปรับใช้กับตัวเอง
อาจมีหลายเหตุผล ที่ทำให้หลายคนไม่อยากทากันแดด และหนึ่งในเหตุผลที่สำคัญ เพราะตัวเองก็เป็นคือ "ผิวแพ้ง่ายมาก อุดตันง่ายมาก สิวขึ้นง่ายมาก" เลยไม่อยากทากันแดด เพราะกันแดดมักจะชอบอุดตัน ทาแล้วสิวขึ้น หรือพวกที่เคลมว่าอ่อนโยนก็มักจะทาแล้วหน้าเทา
วันนี้เลยอยากมาแชร์ "หลักการส่วนตัว" ที่มักจะดูก่อนเสมอเมื่อจะใช้สกินแคร์ตัวใหม่ และนำมาใช้กับกันแดดด้วย
Note หลักเบื้องต้นเท่านั้นสำหรับผิวแพ้ง่าย เป็นสิวง่าย ไม่ได้จำเพาะว่าแพ้อะไรนะครับ เพราะคนแพ้ง่าย ก็อาจจะไม่ได้แพ้สารจำพวกนี้ก็ได้
กลุ่มสารที่ผิวแพ้ง่าย เป็นสิวง่าย ควรหลีกเลี่ยง
1. น้ำหอม
เพราะ หลักการให้เราได้กลิ่นคือการระเหย และการระเหยนี้จะเป็นการดึงความชุ่มชื้นออกจากผิวไปพร้อมกันด้วย เมื่อผิวขาดความชุ่มชื้น ก็จะทำให้ผิวเกิดการระคายเคืองได้ง่ายขึ้น
2. แอกอฮอล์
แอลกอฮอล์ทำหน้าที่ส่งสารบำรุงเข้าสู่ผิวชั้นหนังแท้ส่วนบนได้ก็จริง แต่มักทำให้ผิวระคายเคือง และแห้งลงด้วยถ้ามาในลำดับต้นๆของ Ingredient เพราะขณะที่แอลกอฮล์ระเหย จะดึงน้ำออกจากผิวด้วย
3. พาราเบน
เป็นกลุ่มสารกันเสียที่ใช้มานานและค่อนข้างปลอดภัยระดับนึง แต่ก็ยังมีรายงานผลการศึกษาสารในเครื่องสำอางที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ว่า สารกันเสียเป็นสารที่ทำให้ผู้ใช้เกิดการแพ้ ผื่นแพ้และระคายเคือง (Allergy Irritation) เป็นอันดับที่สองรองจากน้ำหอม
4. ซิลิโคน
ซิลิโคน ไม่ได้อันตรายเสมอไป แต่สำหรับผิวมัน เป็นสิวง่ายแล้ว น้ำมันที่ผิวผลิตขึ้นมีโอกาสไปจับตัวกับซิลิโคนแล้วก่อให้เกิดการอุดตันรูขุมขนได้ง่าย กว่าผิวประเภทอื่น
5. ซัลเฟต
สารกลุ่มนี้แถมละกัน เพราะส่วนใหญ่มักอยู่ในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด แต่ด้วยที่ตัวมันเองสามารถทำหน้าที่เป็น Emulsifier บางครั้งอาจมีหลงมาในผลิตภัณฑ์ทาผิวด้วย ก็น่าจะรู้กันอยู่ไม่มากก็น้อยแล้วว่าสารชำระล้างกลุ่มเซลเฟตค่อนข้างรุนแรง โดยเฉพาะ SLS และ SLES
6. EU Allergens List
เป็นกลุ่มสาร 26 สารที่ EU's Scientific Committee on Consumer Safety (SCCS) รายงานว่าเป็นสารก่ออาการระคายเคือง มีดังนี้ Alpha isomethylionone, Amyl cinnamal, Amylcinnamyl alcohol, Anisyl alcohol, Benzyl alcohol, Benzyl benzoate, Benzyl cinnamate, Benzyl salicylate, Butylphenyl methylpropional (Lilial), Cinnamal, Cinnamyl alcohol, Citral, Citronellol, Coumarin, Eugenol, Farnesol, Geraniol, Hexyl cinnamal, Hydroxycitronellal, Hydroxyisohexyl 3-cyclohexene carboxaldehyde (Lyral), Isoeugenol, Limonene, Linalool, Methyl 2-octynoate, Evernia furfuracea (Treemoss) extract, Evernia prunastri (Oakmoss) extract
ทั้งหมด 6 กลุ่มสารดังกล่าว เป็นเพียงแค่การระวังเบื้องต้นเท่านั้น เพราะจำไว้ว่า ประชากรบนโลกมี หลายพันล้านคน และการศึกษาวิจัยทำเพียงกับกลุ่มทดลองเพียงไม่กี่คน และ ความรู้ทางทฤษฏี และการใช้จริง ทาจริง ก็อาจไม่ส่งผลเหมือนกัน 100%
ดังนั้นทั้งหมดที่เล่ามาเป็นแค่ไกด์ไลน์เท่านั้น ไม่ได้ตัดสินว่าตัวไหนดีหรือไม่ดี เพื่อนๆสามารถลองนำไปปรับใช้กับตัวเอง
ถ้าการสังเกตเองมันยาก วุ่นวายไป ผมเลยขอนำ
10 ตัวนี้ที่เลือกมา เกือบทุกตัวแบรนด์เคลมว่าอ่อนโยน ดังนั้นเกือบทุกตัวจึงไม่มีน้ำหอมอยู่แล้ว แล้วสารอื่นๆที่ผิวแพ้ง่ายไม่ควรเสี่ยงใช้ จะมีหรือเปล่าต้องมาดูกัน
ในกระทู้นี้จะขอไม่พูดถึง เนื้อสัมผัสนะครับ ว่ามัน หรือไม่มัน เพราะสภาพผิวแต่ละคนไม่เหมือนกัน ความมัน หรือไม่มันของแต่ละคนเอามาวัดกันยาก ดังนั้นเรื่องเนื้อผลิตภัณฑ์ แนะนำให้ต้องลองกับผิวเอง
มาเริ่มกันเลย
ที่มา: skincarisma.com ลองเอา Ingredient ตัวอื่นไปวิเคราะห์ดูนะครับ
10 กันแดดตัวเด่น ของแต่ละแบรนด์ มาให้ดูกันครับ
10 ตัวนี้ที่เลือกมา เกือบทุกตัวแบรนด์เคลมว่าอ่อนโยน ดังนั้นเกือบทุกตัวจึงไม่มีน้ำหอมอยู่แล้ว แล้วสารอื่นๆที่ผิวแพ้ง่ายไม่ควรเสี่ยงใช้ จะมีหรือเปล่าต้องมาดูกัน
ในกระทู้นี้จะขอไม่พูดถึง เนื้อสัมผัสนะครับ ว่ามัน หรือไม่มัน เพราะสภาพผิวแต่ละคนไม่เหมือนกัน ความมัน หรือไม่มันของแต่ละคนเอามาวัดกันยาก ดังนั้นเรื่องเนื้อผลิตภัณฑ์ แนะนำให้ต้องลองกับผิวเอง
มาเริ่มกันเลย
ที่มา: skincarisma.com ลองเอา Ingredient ตัวอื่นไปวิเคราะห์ดูนะครับ
1. Laroche-Posay Anthelios Shaka Fluid SPF50+
ปริมาณ 50 ml. 1,400 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 28 บาท
2. ANESSA essence UV Sunscreen mild milk SPF 35 PA+++
(for sensitive skin)
ปริมาณ 60 ml. 950 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 16 บาท
3. SUPERGOOP! Everyday Sunscreen Broad Spectrum
ปริมาณ 30 ml. 480 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 16 บาท
4. Kiehl's Ultra Light Daily UV Defense Aqua SPF 50 PA++++
ปริมาณ 60 ml. 2,250 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 38 บาท
5. MizuMi UV WATER DEFENSE SPF50+ PA++++
ปริมาณ 30 ml. 890 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 30 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 30 บาท
6. BIODERMA Photoderm Aquafluide Neutral
ปริมาณ 40 ml. 940 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 24 บาท
7. Kindness Freedom Invisible Water Fresh SPF50+ PA++++
ปริมาณ 30 ml. 1100 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 37 บาท
8. FYNE Hybrid Light Hydrating Sunscreen Broadspectrum
SPF 50 PA+++
ปริมาณ 50 ml. 1290 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 26 บาท
9. Eucerin Sun Dry Touch Acne Oil Control
ปริมาณ 50 ml. 1400 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 28 บาท
10. Biore UV Smooth Kids Milk SPF50+ PA++++
ปริมาณ 90 ml. 420 บาท
ราคาต่อ 1 ml. 5 บาท
ทั้งหมดเป็นเพียง ไกด์ไลน์ เพื่อแนะนำกันแดดสำหรับ ผิวแพ้ง่าย เป็นสิวง่าย เท่านั้น
ส่วนประสิทธิภาพในการกันแดดนั้น ทุกตัวที่นำมาแนะนำสามารถกัน รังสี UVA I UVA II UVB ได้ทั้งหมดครับ
ส่วนประสิทธิภาพ ของระยะเวลาในการกันแดดนั้น สารกันแดดทุกประเภทเมื่อโดนรังสีแล้วจะค่อยๆเสื่อมประสิทธิภาพลงเรื่อยๆอยู่แล้ว สำหรับคนที่อยู่กลางแจ้งตลอดเวลาจึงแนะนำให้ทาซ้ำทุกๆ 2 ชั่วโมง เป็นคำแนะนำปกติของผลัตภัณฑ์กันแดดทุกตัว
ส่วนประสิทธิภาพในการกันแดดนั้น ทุกตัวที่นำมาแนะนำสามารถกัน รังสี UVA I UVA II UVB ได้ทั้งหมดครับ
ส่วนประสิทธิภาพ ของระยะเวลาในการกันแดดนั้น สารกันแดดทุกประเภทเมื่อโดนรังสีแล้วจะค่อยๆเสื่อมประสิทธิภาพลงเรื่อยๆอยู่แล้ว สำหรับคนที่อยู่กลางแจ้งตลอดเวลาจึงแนะนำให้ทาซ้ำทุกๆ 2 ชั่วโมง เป็นคำแนะนำปกติของผลัตภัณฑ์กันแดดทุกตัว